Page 10 -
P. 10
ธ�ำรงศักดิ์ คงคำสวัสดิ์ 9
อย่ำงไรก็ตำม ในด่ำนสุดท้ำยของกำรคัดเลือกผู้สมัครงำน
หนีไม่พ้น “กำรสอบสัมภำษณ์” นั่นเอง!
ดังนั้นองค์กรควรให้ความส�าคัญกับผู้ที่จะท�าหน้าที่เป็นกรรมการ
สัมภาษณ์ ซึ่งถือเป็นปราการด่านสุดท้ายนี้แล้วใช่ไหมครับ?
พอผมพูดมาถึงตรงนี้ ผมว่าท่านคงจะพยักหน้าเห็นด้วยกับผม
แน่นอน เพราะมีคติของชาวชีวจิตอยู่ค�าหนึ่งที่ชัดเจน คือ
“You are what you eat”
บริโภคอย่างไร..ร่างกายท่านก็เป็นอย่างนั้นไงครับ
ถ้าท่านตัดสินใจรับผู้สมัครที่ดีมีคุณสมบัติเหมาะสมเข้ามา องค์กร
ของท่านก็จะแข็งแรงเติบโตก้าวหน้า
แต่ถ้าในทางกลับกันล่ะ?
เพรำะกำรสัมภำษณ์คือ “ทักษะ” คือกำรฝึกฝนจนช�ำนำญ
นะครับ ไม่ใช่พรสวรรค์ที่อยู่ดี ๆ ก็งอกขึ้นมำได้เองตำมต�ำแหน่งที่
สูงขึ้น!!
พอองค์กรไม่ให้ความส�าคัญและไม่เคยให้ความรู้กับคนที่จะต้องไป
ท�าหน้าที่สัมภาษณ์แล้วคิดว่าการสัมภาษณ์คือการพูดคุยซักถามทั่วไป
ถูกใจใครก็เลือกคนนั้น
ในที่สุดก็มักจะเกิดความผิดพลาดจากการใช้ความรู้สึกหรืออคติ
ในการคัดเลือกคนในที่สุด!