Page 13 -
P. 13
12 สนุกไปกับค่ำจ้ำงเงินเดือน
ของระบบ ซึ่งอาจจะเหมาะกับบริษัทเล็ก ๆ มีคนไม่มากนัก แต่
ถ้าบริษัทนั้นขยายมีคนมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็จะเกิดปัญหาจากการ
ใช้ “หลักกู” เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
ทั้งหมดที่ผมเล่ามานี้ก็มาจากประสบการณ์ของคนที่ท�างานด้าน
Com & Ben (Compensation & Benefits) ซึ่งผมเชื่อว่าคนที่ท�างานด้านนี้
หรือเคยท�างานด้าน Com & Ben มาก่อนก็จะเห็นตรงกันว่าการมีโครงสร้าง
เงินเดือนในองค์กรย่อมดีกว่าไม่มีโครงสร้างเงินเดือน ในขณะที่คนที่ไม่เคย
ท�างานด้านนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ Staff Cost และรายงานเกี่ยวกับข้อมูล Staff
Cost หรือไม่เคยต้องอธิบายหลักการบริหารค่าจ้างเงินเดือนให้กับฝ่าย
บริหาร, พนักงาน, สหภาพแรงงานได้เข้าใจ หรือไม่เคยต้องรับผิดชอบ
งบประมาณขึ้นเงินเดือนประจ�าปีทั้งองค์กร ไม่เคยต้องตอบค�าถามกับ
ประธานสหภาพแรงงานที่เขามีข้อสังสัย ก็จะมองโครงสร้างเงินเดือนอย่าง
ผิวเผินและมองว่าเป็นเรื่องไม่จ�าเป็น
จึงสรุปตรงนี้ว่ำโครงสร้ำงเงินเดือนไม่ใช่แค่เพียงเครื่องมือ..
แต่คือ “กติกำ” ในกำรบริหำรค่ำจ้ำงเงินเดือนที่ท�ำให้เกิดควำม
เป็นธรรมกับทุกฝ่ำย ไม่ว่ำจะเป็นฝ่ำยนำยจ้ำงหรือลูกจ้ำง ทั้งยังใช้
เป็นกติกำในกำรตอบค�ำถำมคนในองค์กรในกำรดูแล Staff Cost ให้
เหมำะสม และใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญท�ำให้เกิดควำมเสมอภำคและ
เป็นธรรม เพื่อลดปัญหำและสร้ำงแรงงำนสัมพันธ์ที่ดีในองค์กร
ถ้าจะว่าไปแล้วโครงสร้างเงินเดือนก็เหมือนกับหมวกกันน็อกแหละ
ครับ คนที่ไม่เห็นความส�าคัญก็จะไม่ชอบหมวกกันน็อก จะบอกว่าท�าไม
ต้องมีกฎหมายให้ใส่หมวกกันน็อกด้วย ใส่แล้วอึดอัดเพราะฉันอยากขับ
มอเตอร์ไซค์ให้ลมโกรกหน้าซะหน่อย เรื่องอะไรจะเอาหมวกกันน็อกมาจ�ากัด
หัวฉันเอาไว้ด้วยล่ะ หัวฉันสวย ฉันก็อยากจะโชว์หัวฉันให้ชาวบ้านเห็น