Page 12 -
P. 12

ธ�ำรงศักดิ์ คงคำสวัสดิ์  11




                       5.  ไม่สำมำรถรักษำคนรุ่นใหม่ที่มีฝีมือเอำไว้ได้ ลูกน้องที่
                          ท�างานมานานแต่ท�างานเหมือนเดิมจะมีเงินเดือนมากกว่า
                          หัวหน้าที่เป็นคนรุ่นใหม่ไฟแรง มีความรู้ความสามารถในงานแต่

                          อายุงาน (และอายุตัว) น้อยกว่าลูกน้องที่ท�างานมาหลายสิบปี
                          ที่เป็นคนเก่าแก่แต่ขาดศักยภาพที่จะไปต่อ ในที่สุดหัวหน้าที่เป็น
                          คนรุ่นใหม่ก็จะลาออกเพราะไม่มีหลักเกณฑ์อะไรจะไปอธิบาย
                          ให้เขาเข้าใจได้ว่าท�าไมถึงเงินเดือนน้อยกว่าลูกน้อง และเมื่อไหร่

                          เขาจะมีเงินเดือนมากกว่าลูกน้อง

                       6.  เป็นตัวอย่ำงที่ไม่ดีให้กับคนรุ่นหลัง จากการที่คนรุ่นหลัง ๆ
                          เห็นว่ารุ่นพี่ ๆ เขาอาศัยแค่ท�างานมานาน ไม่ต้องรับผิดชอบอะไร
                          ให้มากขึ้น ขอเพียงแค่ท�างานแบบเดิม ๆ ท�าไปเรื่อย ๆ เงินเดือน
                          ก็จะได้ขึ้นไปทุก ๆ ปี แบบไม่มีตัน (No Limit) ก็จะคิดว่างั้นเรา

                          ก็ท�าเหมือนพี่แหละคือท�างานไปเรื่อย ๆ เมื่อบริษัทจะมอบหมาย
                          ให้รับผิดชอบอะไรเพิ่มขึ้นก็ไม่เอา จะขอท�างานเหมือนเดิม
                          เท่าเดิมไปเรื่อย ๆ ก็พอแล้ว เพราะยังไงก็ได้ขึ้นเงินเดือนไปทุกปี
                          และไม่มีเงินเดือนตัน แล้วระยะยาวองค์กรนั้น ๆ จะยังสามารถ

                          แข่งขันได้อยู่หรือไม่

                       7.  กำรขึ้นเงินเดือน/ปรับเงินเดือนทุกอย่ำงจะใช้ “หลักกู”
                          เหนือ “หลักเกณฑ์” โดยไม่มีหลักอะไรมาอธิบายหรือตอบ
                          ค�าถามพนักงานที่ชัดเจนได้นอกจากค�าว่า “เพื่อความเหมาะสม”
                          หรือ “ก็คนคนนั้นเขาท�างานดีมีผลงาน” อยู่ที่ว่าผู้บริหารจะขึ้น

                          เงินเดือนให้ใครหรือปรับให้ใครก็ได้ ซึ่งวิธีการปรับขึ้นเงินเดือน
                          ตามความพอใจของ MD หรือผู้บริหารไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็น
                          เรื่องเก่าที่มีมานานมากแล้ว เป็นแนวคิดของเถ้าแก่ยุคเดิมที่ใช้
                          ความรู้สึกของตัวเองเป็นหลักมากกว่าการมองเห็นความส�าคัญ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17