Page 21 -
P. 21

Objectives and Key Results (OKRs)
            20   เครื่องมือการบริหารผลงานที่ได้ “ใจ” และได้ “งาน”
                                               Series I



                    แนวคิด BSC น�ามาใช้เพื่อสร้างความสมดุลในการวัดผลงานให้
              ครอบคลุมด้านต่าง ๆ ทั้ง 4 ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้าน
              กระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้/การเติบโต ซึ่งในแต่ละด้านจะต้อง

              ก�าหนดตัวชี้วัดผลงานหลักหรือ KPIs เพื่อบ่งบอกถึงความส�าเร็จของผลงาน
              ในแต่ละด้านนั้น

                    จุดเด่นของแนวคิด BSC ก็คือท�าให้การก�าหนดปัจจัยวัดผลงาน
              ไม่เจาะจงเพียงแค่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง การวัดผลงานจะต้องมองให้ครอบคลุม

              ในมิติต่าง ๆ เพื่อช่วยท�าให้เป้าหมายขององค์การประสบความส�าเร็จ

                    อย่างไรก็ตามพบว่าการน�า BSC มาใช้ในการบริหารผลงานนั้น
              มีข้อจ�ากัดในเรื่องความยุ่งยาก และความซับซ้อนในการก�าหนดปัจจัยวัด
              ผลงานที่จะต้องมองให้ครบทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะการก�าหนด KPIs ระดับ

              ต�าแหน่งงานที่จะต้องก�าหนดให้ครอบคลุมทั้ง 4 มุมมอง ซึ่งท�าได้ค่อนข้าง
              ยาก เช่น ต�าแหน่งเจ้าหน้าที่ธุรการที่รับผิดชอบในการจัดเตรียม จัดท�าและ
              จัดเก็บเอกสาร ก็จะไม่สามารถก�าหนด KPIs ด้านการเงินได้เนื่องจาก

              งานที่รับผิดชอบไม่เกี่ยวกับการเงิน เป็นต้น

                    หลายองค์การที่น�า BSC มาใช้ พบว่าต้องก�าหนดปัจจัยวัดผลงาน
              มากเกินไป เพราะในหนึ่งมุมมองยังมีตัวชี้วัดผลงานหลาย ๆ ข้อ ถ้าจะ
              ก�าหนดปัจจัยวัดผลงานให้ครบทั้ง 4 มุมมอง ก็จะท�าให้มี KPIs จ�านวนมาก

              เกินไป

                    ในทัศนะของผู้เขียนมองว่าหากองค์การต้องการน�า BSC มาใช้เป็น
              กรอบแนวคิดการวัดผลงานให้ครอบคลุมทั้ง 4 มุมมอง ก็น่าจะน�าแนวคิดนี้
              มาใช้วัดผลงานในระดับองค์การ และระดับหน่วยงานมากกว่าที่จะน�ามาใช้

              วัดผลงานของต�าแหน่งงาน
   16   17   18   19   20   21   22   23