Page 6 -
P. 6
C
ค�าน�า
HR Center
เคร่องมือในการบริหารผลงานในองค์การมีอยู่มากมายหลายเคร่องมือ
ื
ื
ี
ึ
ื
ื
โดยในปัจจุบันเคร่องมือท่ถูกกล่าวถึงมากท่สุดคงจะไม่พ้นเร่องของ OKRs ซ่ง
ี
�
ั
ในการทา OKRs น้นมีกระบวนการสาคัญประการหน่งท่ต้องทาเพ่อใช้เป็นกลไก
�
ึ
�
ี
ื
ขับเคลื่อนให้การบริหารผลงานโดยเครื่องมือดังกล่าวประสบผลก็คือ การท�า CFR
้
ั
(Conversation-Feedback-Recognition) แต่เมอได้รบร้ขนตอนกระบวนการทา
ื
่
ู
ั
�
ั
ื
CFR แล้วจะพบว่า CFR ไม่ใช่แค่ใช้ได้เฉพาะกับเคร่องมือ OKRs เท่าน้น แต่สามารถ
ื
ื
ใช้เป็นกลไกขับเคล่อนการบริหารผลงานด้วยเคร่องมืออ่น ๆ ได้ด้วย ไม่ว่าจะเป็น
ื
MBO, BSC, KPIs, Goal Setting เพราะการบริหารผลงานไม่ว่าจะใช้เครื่องมือใด
ี
�
ี
็
กตามจาเป็นจะต้องมการพดคยกบพนกงาน (Conversation), มการให้ข้อมล
ู
ู
ุ
ั
ั
ป้อนกลับ (Feedback) และการชื่นชมยกย่อง (Recognition) ทั้งสิ้น เพราะจะเป็น
ตัวช่วยผลักดันให้ผลงานของพนักงานประสบความส�าเร็จ
หนังสือ “CFR กลไกขับเคลื่อนให้การบริหารผลงานบรรลุผลส�าเร็จ” เล่มนี้
�
ดร.อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์ ได้รวบรวมแนวคิดและกระบวนการทา CFR ท่ประกอบด้วย
ี
การสนทนา (Conversation) การให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) และการยกย่อง
�
ั
(Recognition) ไว้อย่างเป็นข้นเป็นตอน เข้าใจง่าย และสามารถนาไปใช้พัฒนา
ื
ี
ทีมงานและตนเองได้จริง นอกจากน้ยังมีส่อการเรียนรู้และแบบทดสอบความรู้เร่อง
ื
CFR ในรูปแบบ QR Code ให้ผู้อ่านได้เข้าไปศึกษาเพิ่มเติมอีกด้วย
CFR จึงเป็นวิธีการที่ส�าคัญวิธีการหนึ่งที่มีส่วนช่วยให้กระบวนการบริหาร
ผลงานเกิดการขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องในองค์การอย่างได้ผล
ด้วยความปรารถนาดี
ทีมงาน เอช อาร์ เซ็นเตอร์