Page 11 -
P. 11

10   รวมฎีกาด้านแรงงาน
                                ที่น่าสนใจ



                    นี่ก็หมายความว่าการจ้างช่วงทดลองงานนั้น กฎหมายได้
              ก�าหนดไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นสัญญำจ้ำงที่ไม่มีก�ำหนดระยะเวลำ

              ดังนั้นเมื่อเอาการจ้างช่วงทดลองงานมาท�าสัญญากันแบบมีก�าหนด
              ระยะเวลา เพื่อเวลาเลิกจ้างจะได้ไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ก็น่าจะ

              ขัดกับบทบัญญัติของกฎหมายมาตรา ๑๗ นี้นะครับ

                    เป็นที่ทราบกันว่า กฎหมายแรงงานนั้นเป็นกฎหมำยที่เกี่ยวกับ
              ควำมสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชำชน ดังนั้นการ

              ก�าหนดเงื่อนไขอะไรที่ขัดกับกฎหมายแรงงานก็ย่อมเป็นโมฆะ คือถึงแม้
              ลูกจ้างจะตกลงด้วย การตกลงนั้นก็ไม่มีผลใช้บังคับ


                    การที่กฎหมายก�าหนดให้การเลิกจ้างที่ไม่ได้มีเหตุมาจากการ
              ท�าผิดร้ายแรงจะต้องบอกกล่าวล่วงหน้านั้น ก็เพื่อให้ลูกจ้างได้มีโอกาส
              รู้ตัวก่อนเป็นระยะเวลาพอสมควร จะได้ตั้งตัวหางานใหม่ได้ เพราะ

              งานใหม่นั้นใครก็ทราบว่าไม่ได้หาได้ในทันที ส่วนใครที่ไม่ต้องการ
              บอกกล่าวล่วงหน้า กฎหมายก็ให้จ่ายค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า

              (หรือที่มักเรียกกันว่าจ่ายค่าตกใจ) แล้วให้ลูกจ้างออกจากงานทันทีได้
              ดังที่ปรากฏอยู่ในวรรคสามของมาตรา ๑๗ ข้างต้น


                    การที่น�าเอาสัญญาจ้างช่วงทดลองงานมาท�าเป็นสัญญาแบบ
              มีก�าหนดระยะเวลา เพื่อเมื่อสิ้นสุดสัญญาแล้วเห็นว่าลูกจ้างท�างานได้
              ไม่เป็นที่น่าพอใจ ก็จะได้จบสัญญาจ้างกันไปโดยไม่ต้องบอกกล่าว

              ล่วงหน้านั้น จึงดูเหมือนทั้งขัดและเลี่ยงการจ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
              ซึ่งย่อมสร้างปัญหาให้กับผู้ไม่ผ่านทดลองงานได้
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16