Page 5 -
P. 5
Series
2
Performance Feedback
และ Feedforward Culture
ดร.อาภรณ ภูวิทยพันธุ
Feedforward ถูกน�ามาใช้จริงและเกิดเป็นวัฒนธรรมขึ้น เนื้อหาในหนังสือ
ี
เล่มน้จึงเป็น Series 2 ท่เน้นข้นตอนและแนวทางการสร้างและท�าให้เกิด
ี
ั
วัฒนธรรมการ Feedback และ Feedforward ขึ้นในองค์การ โดยผู้เขียน
ื
ึ
ี
ขอน�าเสนอแนวทางการ Coach ท่เป็นหน่งในเคร่องมือการพัฒนาหรือ
ี
Feedforward ท่ส�าคัญท่จะต่อยอดจากการ Feedback เพ่อน�าไปสู่การ
ื
ี
พัฒนาผลงานของพนักงานต่อไป
ื
เม่อมีการ Feedback และ Feedward ข้นแล้ว การประเมินผล
ึ
ื
ความส�าเร็จจึงเป็นอีกเร่องท่องค์การต้องตระหนักและสร้างแนวทาง
ี
ิ
ิ
�
็
และระบบการตดตามและประเมนความสาเรจของการ Feedback และ
Feedforward ผลงานของพนักงานขึ้น หนังสือ “Performance Feedback
and Feedforward Evaluation” จึงเป็น Series 3 ท่ต่อจากการสร้าง
ี
ื
วัฒนธรรมการ Feedback และ Feedforward เพ่อน�าผลประเมินมา
พิจารณาการปรับปรุงรูปแบบและแนวทางการ Feedback และ Feedforward
ให้ดีขึ้นต่อไป
ี
ี
หนังสือเล่มน้มีประโยชน์ส�าหรับผู้บังคับบัญชาท่ต้องดูแลผลงานของ
พนักงาน รวมถึง HR ในองค์การ ที่ปรึกษา และวิทยากรที่ต้องการสร้างและ
พัฒนาวัฒนธรรมการ Feedback และ Feedforward ให้เกิดขึ้น ซึ่งเนื้อหา
ในหนังสือเล่มน้จึงรวบรวมประสบการณ์ท่ผู้เขียนได้ท�าจริงและไอเดียท ี ่
ี
ี
เกิดข้นจากการเป็นวิทยากรและเป็นท่ปรึกษาให้กับองค์การหลาย ๆ แห่ง
ี
ึ
โดยผู้เขียนหวังว่าผู้อ่านจะได้ไอเดียเพ่อการน�าไปปรับใช้ในการสร้าง
ื
วัฒนธรรมการให้ข้อมูลป้อนกลับและการพัฒนาผลงานของพนักงาน
ส�าหรับบุคคลท่ผู้เขียนต้องขอบคุณท่านเสมอก็คือ คุณพ่อวิวัฒน์และ
ี
ี
คุณแม่พนิดา ภู่วิทยพันธุ์ ท่ท่านคอยเป็นก�าลังใจให้ผู้เขียนมีพลังในการเขียน
ี
ี
ึ
หนังสือเล่มน้ให้ประสบความส�าเร็จตามช่วงเวลาท่ก�าหนดข้น ผู้เขียน
ขอบคุณท่านทั้งสองมา ณ โอกาสนี้