Page 4 -
P. 4
ค�ำน�ำ
หนังสือเล่มนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผมพบเห็นมาตลอดชีวิตการท�างานด้านการ
บริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการสรรหาคัดเลือกผู้สมัครงานเพื่อป้อนให้กับ
หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
ผมพบว่าในองค์กรส่วนใหญ่มักจะก�าหนดให้หัวหน้างาน หรือผู้จัดการ หรือที่เรียกว่า
Line Manager เข้ามามีส่วนร่วมในการคัดเลือกผู้สมัครงาน เพื่อรับเข้ามาท�างานในต�าแหน่งงาน
ที่ว่างอยู่ โดยจะมีการแต่งตั้งหรือก�าหนดหัวหน้างานหรือ Line Manager เหล่านั้นเป็นกรรมการ
สัมภาษณ์โดยต�าแหน่งใช่ไหมครับ?
ปัญหำจึงเกิดขึ้นตรงที่ว่ำ Line Manager ส่วนใหญ่มักจะไม่เคยได้เข้ำรับ
กำรอบรม หรือรับทรำบวิธีกำรสัมภำษณ์ผู้สมัครงำนอย่ำงจริง ๆ จัง ๆ จึงขำดทักษะ
ที่จ�ำเป็นในกำรสัมภำษณ์ผู้สมัครงำน ท�าให้เกิดการสัมภาษณ์แบบ “จิตสัมผัส” ไปเรื่อย ๆ
โดยไม่มีการเตรียมค�าถามหรือเตรียมพร้อมก่อนเข้าห้องสัมภาษณ์ ซึ่งศัพท์ทางเทคนิคเขาเรียก
วิธีการแบบนี้ว่า “Unstructured Interview” ครับ พูดง่าย ๆ คือกรรมการสัมภาษณ์นึกอยากจะ
ถามผู้สมัครงานเรื่องอะไรก็ถามไปแล้วแต่เวลานั้นมีเทพองค์ใดมาลงก็จะถามไปแบบเทพดลใจ
แถมค�าถามส�าหรับผู้สมัครงานแต่ละรายก็ไม่เหมือนกัน และเมื่อจะต้องประเมินผลเพื่อ
ตัดสินใจเลือกผู้สมัครงานจะเอาหลักเกณฑ์อะไรมาใช้ล่ะครับ?
ค�าตอบคือใช้ “ควำมรู้สึก” ของกรรมการสัมภาษณ์!!
หากองค์กรของท่านมีวิธีการสัมภาษณ์แบบนี้ และใช้ความรู้สึกในการตัดสินใจ
คัดเลือกคนเข้าท�างานแล้ว ท่านคิดว่าจะสามารถคัดเลือกคนดีคนเก่งที่มีคุณสมบัติเหมาะสม
หรือคนที่ “ใช่” เข้ามาร่วมงานกับท่านไหมล่ะครับ?
และในหลายองค์กรยังมีวิธีการสัมภาษณ์และคัดเลือกคนในลักษณะนี้ มักจะพบกับ
ปัญหาในเรื่องของคนตามมาในภายหลังก็มีอยู่ไม่น้อย
หนังสือเล่มนี้จะถ่ายทอดเรื่องน่ารู้และข้อควรระวังในเรื่องต่าง ๆ ส�าหรับทุกท่านที่
จะต้องท�าหน้าที่ “กรรมการสัมภาษณ์งาน” แบบเล่าสู่กันฟัง เพื่อให้ท่านได้ข้อคิดส�าหรับน�าไป
ปรับปรุงวิธีการสัมภาษณ์ของท่านเพื่อให้ได้คนที่ “ใช่” ส�าหรับองค์กรของท่านไงล่ะครับ
ขอให้ท่านประสบความส�าเร็จในการคัดเลือกคนเก่งและดีเข้ามาร่วมงานครับ!
ธ�ำรงศักดิ์ คงคำสวัสดิ์
tamrongsakk@hotmail.com
081-846-2525