Page 5 -
P. 5
Objectives and Key Results (OKRs)
เครื่องมือการบริหารผลงานที่ได้ “ใจ” และได้ “งาน”
Series I ดร.อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์
ลักษณะของ OKRs แนวทางการก�าหนด OKRs และแนวทางการติดตามและ
ประเมินความส�าเร็จของ OKRs ไปจนถึงการน�าแนวคิดนี้ไปปรับใช้จริงในองค์การ
การอ่านหนังสือเล่มนี้ผู้เขียนเสนอให้อ่านทีละบท ไม่ควรอ่านข้ามบทเพราะจะท�าให้
อ่านไม่เข้าใจ เนื่องจากเนื้อหาจะร้อยเรียงต่อกันในแต่ละบท บทสุดท้ายจะเป็นแหล่ง
ที่มาของข้อมูลการเขียน OKRs ที่ผู้เขียนได้ค้นคว้าเพิ่มเติม
หนังสือเล่มนี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนทางใจจากคุณพ่อ
วิวัฒน์และคุณแม่พนิดา ภู่วิทยพันธุ์ ท่านทั้งสองเป็นพลังใจที่ส�าคัญที่ท�าให้เขียน
หนังสือเล่มนี้ส�าเร็จภายในระยะเวลาที่ก�าหนด ทุกครั้งที่ผู้เขียนเหนื่อยจากงานสอน
หรืองานให้ค�าปรึกษา ท่านทั้งสองจะคอยเป็นก�าลังใจให้ผู้เขียนเขียนหนังสือเล่มนี้
จนส�าเร็จได้
นอกจากนี้ผู้เขียนขอขอบคุณตัวเองที่มีวินัยในการเขียนหนังสือ เนื่องจาก
OKRs เป็นเรื่องใหม่มากส�าหรับบ้านเรา จึงยังไม่มีหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้มากนัก
ผู้เขียนจึงต้องจัดสรรเวลาและใช้เวลานานมากในการวางกรอบการเขียนเกี่ยวกับ
OKRs ในเล่มนี้ ต้องทุ่มความพยายามและความตั้งใจเต็มที่ในระหว่างการเขียนและ
ต้องมีวินัยที่จะเขียนให้ได้ทุกวัน วันละ 1-3 หน้า แล้วน�าข้อมูลที่เขียนมาตกผลึกและ
รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาเขียนให้เชื่อมโยงกันในแต่ละบท เพื่อให้ผู้อ่านท�าความ
เข้าใจได้ง่าย
ผู้เขียนขอขอบคุณบ้านเอช อาร์ เซ็นเตอร์ ที่ให้โอกาสผู้เขียนเสมอมา
ไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ไพศาล เตมีย์ พี่หญิง และพี่แดง ท่านทั้งสามส่งเสริมและ
ผลักดันให้ผู้เขียนผลิตผลงานการเขียนและให้โอกาสในการเป็นวิทยากร เพื่อแบ่งปัน
ประสบการณ์และแนวคิดทางด้าน HR กับองค์การต่าง ๆ รวมถึงการดูแลจากน้อง ๆ
ทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือและดูแลผู้เขียนเป็นอย่างดี
และอีกท่านหนึ่งที่ผู้เขียนขอขอบคุณเป็นอย่างมากก็คือ ดร.รุ่งโรจน์ อรรถานิทธ์
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยสกิลล์ พลัส จ�ากัด ซึ่งท่านเป็นเพื่อนคู่คิดที่ท�าให้ผู้เขียน